ดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions Index : CPI)
o ที่มาและความสำคัญของดัชนีการรับรู้การทุจริต
o 9 แหล่งข้อมูลการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต
o คะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย ในห้วงระยะเวลาที่ผ่านมา (2018 – 2021)
o แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของค่าคะแนน CPI
o การดำเนินงานเพื่อยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต
พ.ร.บ. กำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ.2565
o ที่มาของพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ.2565
o หน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการดำเนินการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติกำหนดระยะเวลาดำเนินงานในกระบวนการยุติธรรม พ.ศ.2565
วันต่อต้านคอร์รัปชันสากล 9 ธันวาคม (International Anti-Corruption Day)
o ความเป็นมาของ
o วัตถุประสงค์ของการจัดงานวันต่อต้านคอร์รัปชันสากล (ประเทศไทย)
แผนภูมิขั้นตอนกระบวนการดำเนินงานด้านการปราบปรามการทุจริต
1. แผนภูมิขั้นตอนการรับ ตรวจ และส่งคำกล่าวหา
2. แผนภูมิหลักเกณฑ์การตรวจรับคำกล่าวหาที่มีชื่อและที่อยู่ในส่วนกลาง
3. แผนภูมิหลักเกณฑ์การตรวจรับคำกล่าวหาที่มีชื่อและที่อยู่ในส่วนภูมิภาค
4. แผนภูมิขั้นตอนการตรวจสอบเบื้องต้น
5. แผนภูมิขั้นตอนการไต่สวนและการไต่สวนเบื้องต้น
สรุปย่อบทความ วารสารวิชาการ ป.ป.ช. ปีที่ 12 ฉบับที่2
o การคอร์รัปชันในยุคเทคโนโลยีผันผวน
o มาตรการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันความร่วมมือของเครือข่ายกลุ่มอิทธิพลซึ่งนำไปสู่การทุจริตคอร์รัปชันอย่างเป็นระบบในภาคการศึกษา
o เศรษฐกิจนอกกฎหมายกับการฟอกเงินในประเทศไทย
o รูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต: กรณีศึกษาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
o ตำแหน่งเจ้าหน้าที่รัฐกับการเปิดเผยบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินต่อสาธารณะ
ศูนย์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติสำนักงาน ป.ป.ช. (Corruption Deterrence Center : CDC)
o ความเป็นมาของ - ศูนย์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติสำนักงาน ป.ป.ช.
o หน้าที่และอำนาจ - ศูนย์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติสำนักงาน ป.ป.ช.
o กระบวนการรวบรวมวิเคราะห์และบริหารจัดการข้อมูลเรื่องที่จะเข้ามายังศูนย์ CDC
o แนวทางการบริหารจัดการข้อมูล CDC ในด้านของ “แหล่งข่าว” และ “การรับ – แจ้ง และบริหารจัดการข้อมูล”
o การดำเนินการของศูนย์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติสำนักงาน ป.ป.ช.
กฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปาก (Anti-SLAPP
o ที่มาของ “กฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปาก (Anti-SLAPP Law
o ลักษณะของการดำเนินคดีหรือการฟ้องคดีปิดปาก
o บทบาทของ “คณะกรรมการ ป.ป.ช.” ต่อ “กฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปาก”
o ประโยชน์ที่ประชาชนจะได้รับ หากประเทศไทยมีกฎหมายป้องกันการฟ้องคดีปิดปาก”
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม
o “ประโยชน์ส่วนบุคคล” และ “ประโยชน์ส่วนรวม หรือ ประโยชน์สาธารณะ”
o “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวมของเจ้าพนักงานของรัฐ” ว่ามีความหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระทำอย่างไรบ้าง
o กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลกับประโยชน์ส่วนรวม
หลักเกณฑ์และวิธีการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินของเจ้าพนักงานของรัฐ ต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. ด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2565
o การบังคับใช้
o ใครมีหน้าที่ยื่นบัญชีทรัพย์สินออนไลน์กับ ป.ป.ช. และจะต้องยื่นเมื่อใด?
o สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับการยื่นบัญชีทรัพย์สินออนไลน์กับ สำนักงาน ป.ป.ช.
o สรุปวิธีการขั้นตอนการยื่นบัญชีทรัพย์สินและหนี้สิน
การให้ความคุ้มครองช่วยเหลือพยาน ตาม “ระเบียบคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ว่าด้วยการคุ้มครองช่วยเหลือพยาน พ.ศ. 2562”
o ขอบข่ายในการพิจารณาให้ความคุ้มครองช่วยเหลือ
o ในการยื่นคำร้องขอคุ้มครองช่วยเหลือพยาน ผู้ร้องขอจะสามารถดำเนินการอย่างไร?
o การพิจารณาให้บุคคลใดได้รับการคุ้มครองช่วยเหลือพยาน
o วิธีการคุ้มครองช่วยเหลือพยาน
o การคุ้มครองช่วยเหลือพยานจะสิ้นสุดลงเมื่อใด
หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยาของเจ้าพนักงานของรัฐ
พ.ศ. 2563
การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา
ห้ามรับ!!
รับได้!!
สิ่งที่ต้องดำเนินการหากมีความจำเป็นต้องรับ!!
o เรื่อง : การคอร์รัปชันกับผลกระทบต่อความเชื่อมั่นของบริษัทข้ามชาติที่ประกอบธุรกิจประเภทเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เข้ามาลงทุนในประเทศไทย
o เรื่อง : แนวทางการประยุกต์ใช้หลักการตลาดภาครัฐในภารกิจการป้องกันการทุจริตของประเทศไทย
o เรื่อง : แนวทางการยกระดับค่าดัชนีการรับรู้การทุจริต
o เรื่อง : แนวทางและมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเชิงนโยบายของรัฐบาลไทยในยุคปัจจุบัน
o เรื่อง : แนวปฏิบัติตามกลยุทธ์ในการป้องกันการทุจริตเชิงรุก
o “สินบน”
o “รับสินน้ำใจ” อาจกลายเป็น “รับสินบน”
o “การรับสินน้ำใจ” เป็นกลุ่ม “ประพฤติมิชอบ”
o พ.ร.บ. ป.ป.ช. 2561 มาตรา 128
รายงานการประเมินติดตามการปฏิบัติตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 ของประเทศไทย รอบที่ 2 (พ.ศ. 2559 - 2567)
รายงานการประเมินติดตามการปฏิบัติตามอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต ค.ศ. 2003 ของประเทศไทย รอบที่ 1 (พ.ศ. 2553 - 2558)
The NACC has published these Guidelines to direct juristic persons on the establishment of appropriate internal control measures in conformity with the laws of the NACC and international standards.
The NACC hopes that these Guidelines would be useful to readers, whether they are Thai or foreign juristic persons conducting business in Thailand, large or small and medium enterprises (SMEs), relevant public or private organisations, or those interested. Besides the earnest enforcement on state officials who solicit/accept bribes, the NACC believes in the importance of active participation and cooperation of the private sector in preventing and combating corruption and bribery. If all perform their duties to the best
ability, it would help eliminate the problem, increase transparency and encourage fairness
in business competition, which would further contribute to the sustainable growth of
the economy and to our society as a whole.
สำนักงาน ป.ป.ช. จัดทำคู่มือเล่มนี้เพื่อเป็นแนวทางให้กับนิติบุคคลในการกำหนดมาตรการป้องกันการให้สินบนอย่างเหมาะสมเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายของ ป.ป.ช. และมาตรฐานสากล โดยได้มีการศึกษาแนวปฏิบัติที่ดีทั้งจากของไทยและจากของต่างประเทศ โดยคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่าน ไม่ว่าจะเป็น นิติบุคคลไทย หรือนิติบุคคลต่างประเทศที่ประกอบธุรกิจในไทยซึ่งอาจจะเป็นนิติบุคคลขนาดใหญ่หรือนิติบุคคล ขนาดกลางและขนาดเล็ก (SMEs) หน่วยงานรัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งผู้ที่สนใจ นอกจาก ความเอาจริงเอาจังของหน่วยงานภาครัฐในการจัดการกับฝั่งเจ้าหน้าที่ของรัฐผู้เรียกรับสินบนแล้ว สำนักงาน ป.ป.ช. เชื่อมั่นเป็นอย่างยิ่งถึงความสำคัญของการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนในการต่อต้าน การให้สินบน ซึ่งหากทุกฝ่ายทำหน้าที่ของตนอย่างเต็มความสามารถ ย่อมจะทำให้ปัญหาดังกล่าว ลดน้อยลง เกิดความโปร่งใสและความเสมอภาคในการแข่งขันทางธุรกิจ อันจะส่งผลต่อความเจริญอย่างยั่งยืนของสภาพเศรษฐกิจและสังคมโดยรวมต่อไป
รายงานแสดงการจัดลำดับคะแนนความโปร่งใสของบริษัทข้ามชาติที่ใหญ่ที่สุด100 ลำดับแรก ที่ดำเนินการอยู่ใน 185 ประเทศทั่วโลก ซึ่งบริษัทสัญชาติไทยได้ถูกจัดอันดับในครั้งนี้ด้วย