Contrast
banner_default_3.jpg

มาตรการด้านกฎหมายเพื่อป้องกันการทุจริตเชิงนโยบายจากผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

จากไชต์: วารสารวิชาการ
จำนวนผู้เข้าชม: 293

29/02/2567

มาตรการด้านกฎหมายเพื่อป้องกันการทุจริตเชิงนโยบายจากผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

 

จุมพล ชื่นจิตต์ศิริ
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
อิศรัฏฐ์ รินไธสง
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
มิตรชัย จงเชี่ยวชำนาญ
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
นิเวศน์ อรุณเบิกฟ้า 
คณะมนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สิริวิท อิสโร
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

คำสำคัญ: การทุจริตเชิงนโยบาย  มาตรการด้านกฎหมาย  การป้องกันการทุจริต  นักการเมือง

 

PDF ดาวน์โหลด

 

บทคัดย่อ
           ปัญหาการทุจริตที่สังคมไทยกำลังเผชิญอยู่ขณะนี้คือการทุจริตเชิงนโยบาย ซึ่งมักใช้เงื่อนไขทางการเมืองเอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอมาตรการด้านกฎหมายเพื่อป้องกันการทุจริตเชิงนโยบาย การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยมีการวิจัยเอกสารและการวิจัยสนามที่เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการจัดเวทีวิพากษ์ผลการวิจัย
           ผลการศึกษาในครั้งนี้ทำให้ได้ความหมายของการทุจริตเชิงนโยบายได้ว่าเป็นการทุจริตที่เกิดจากผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองในฝ่ายบริหารใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่กำหนดนโยบายสาธารณะ โดยมีเจตนาทุจริตเพื่อเอื้อประโยชน์ให้แก่ตนเอง กลุ่มทุนธุรกิจ เครือญาติ และพวกพ้อง โดยมีการทุจริตตั้งแต่ก่อนเลือกตั้งจนกระทั่งหลังการเลือกตั้ง ตัวแสดงสำคัญในกระบวนการทุจริตเชิงนโยบายคือ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี แนวทางการป้องกันการทุจริตเชิงนโยบาย ต้องเริ่มตั้งแต่ขั้นตอนก่อนที่นักการเมืองเข้าสู่ตำแหน่ง ผู้ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีและหลังการเลือกตั้ง จึงเสนอมาตรการด้านกฎหมาย 3 กลุ่มมาตรการ ได้แก่ 1) กลุ่มมาตรการป้องกันการร่วมมือของข้าราชการ และกลุ่มทุนธุรกิจมิให้ร่วมมือกับนักการเมืองเพื่อทุจริตการเลือกตั้ง การกำจัดนักการเมืองที่ไม่ดีเข้าสู่ตำแหน่ง และการป้องกันนโยบายที่นำไปสู่การทุจริตเชิงนโยบาย 2) กลุ่มมาตรการป้องกันผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีมิให้มีการเอื้อประโยชน์ต่อตนเอง กลุ่มทุนธุรกิจและพวกพ้อง และ 3) กลุ่มมาตรการป้องกันนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีคุณธรรม จริยธรรมต่ำกว่ามาตรฐาน เพื่อป้องกันการแทรกแซงและครอบงำระบบตรวจสอบ

เอกสารอ้างอิง (References)

คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2554). มาตรการป้องกันการทุจริตเชิงนโยบาย.
สืบค้นเมื่อ 5 ตุลาคม 2565 จาก https://www.moac.go.th/anticorruption-dwl-files-401091791950

 

จารุวรรณ สุขุมาลพงษ์. (2556). แนวโน้มการคอรัปชันในประเทศไทย. รัฐสภา. กรุงเทพฯ

 

ฉันท์ชนก เจนณรงค์. (2563). การทุจริตเลือกตั้งกับการเมืองไทย. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 13(1), 42-57.

 

นนทวัชร์ นวตระกูลพิสุทธิ์ และคณะ. (2555). การวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบการทุจริตเชิงนโยบาย. สำนักงาน
คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. กรุงเทพฯ

 

ผาสุก พงษ์ไพจิตร (2556). สู่สังคมไทยเสมอการศึกษาโครงสร้างความมั่งคั่งและโครงสร้างอำนาจเพื่อการ
ปฏิรูป: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม

 

พัชรวรรณ นุชประยูร และคณะ. (2563). การสังเคราะห์การทุจริตเชิงนโยบายเพื่ออกแบบระบบและพัฒนา
กลไกการสกัดกั้นการทุจริตเชิงนโยบายของไทย. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 13(2), 91-117.

 

อัครพงศ์ มาปรีดา และ บุญสม เกษะประดิษฐ์. (2562). คอรัปชั่นเชิงนโยบาย: กรณีศึกษาการบริหารจัดการ
กิจการพลังงานแห่งชาติในโครงการโซล่าฟาร์ม. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์. 5(1), 197-213.

 

อุดม รัฐอมฤต และคณะ. (2559). การทุจริตเชิงนโยบาย: มาตรการในทางกฎหมายเพื่อควบคุม และป้องกัน
ปัญหาการทุจริตเชิงนโยบายในประเทศไทย. รายงานการวิจัย.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.): กรุงเทพฯ

 

Abdullahi, R. and Mansor, N. (2015). Concomitant Debacle of Fraud Incidences in the Nigeria Public Sector: Understanding the Power of Fraud Triangle Theory. International Journal of Academic Research in Business and Social Sciences. 5(5), 312-326.

 

Albrecht, W. S., Albrecht, C., & Albrecht, C. C. (2008). Current trends in fraud and its
detection. Information Security Journal: a global perspective17(1), 2-12.

 

Alesina, A., and Angeletos, G. M. (2005). Corruption, inequality, and fairness. Journal of Monetary Economics, 52(7), 1227-1244.

 

Anechiarico, F., and Jacobs, J. B. (1996). The pursuit of absolute integrity: How corruption control makes government ineffective. University of Chicago Press.

 

Bardhan, P. (1997). Corruption and development: a review of issues. Journal of Economic Literature, 35(3), 1320.

 

Chansarn, S. (2013). Assessing the sustainable development of Thailand. Procedia Environmental Sciences, 17, 611-619.

 

Cressey, D. R. (1953). Other people’s money; a study of the social psychology of embezzlement. Retrieved on 4 October, 2022 from https://psycnet.apa.org/record/1954-06293-000

 

Dai, Y., and Handley-Schachler, M. (2015). A fundamental weakness in auditing: The need for a conspiracy theory. Procedia Economics and Finance, 28, 1– 6.

 

Dong, Bin, and Benno Torgler (2011). Democracy, Property Rights, Income Equality, and Corruption. FEEM Working Paper.

 

Grimes, D. R. (2016). On the viability of conspiratorial beliefs. PloS one, 11(1), e0147905.

 

Harris, M., and Raviv, A. (1979). Optimal incentive contracts with imperfect information. Journal of economic theory20(2), 231-259.

 

Heilbrunn, J. R. (2006). Anti-corruption commissions. The role of parliament in curbing corruption, 135-148.

 

ITA (2021). Corruption perception index 2021. Retrieved on 4 October, 2022 from https://www.transparency.org/en/cpi/2021

 

Javorcik, B. S., and Wei, S. J. (2009). Corruption and cross-border investment in emerging markets: Firm-level evidence. Journal of International Money and Finance28(4), 605-624.

 

Kelly, P. and Hartley, C. A. (2010). Casino gambling and workplace fraud: a cautionary tale for managers. Management Research Review. 33(3), 224-239.

 

Klitgaard, R. (1988). Controlling Corruption. Berkeley: University of California Press.

 

Krueger, A. O. (1993). Virtuous and vicious circles in economic development. The American Economic Review, 83(2), 351-355.

 

McKenzie-McHarg, A. (2018). Conspiracy theory: The nineteenth-century prehistory of a twentieth-century concept. Conspiracy theories and the people who believe them, 62-81.

 

OECD (2014), OECD Foreign Bribery Report: An Analysis of the Crime of Bribery of Foreign Public Officials.

 

        . (2015), Consequences of Corruption at the Sector Level and Implications for Economic Growth and Development.

 

        . (2016), Towards Efficient Public Procurement in Colombia: Making the Difference.

 

Okezie, A. (2012). An analysis of fraud in Nigerian banks. American Charter of Economics and Finance1(2), 60-73.

 

Pani, M. (2009). Hold Your Nose and Vote: Why Do Some Democracies Tolerate Corruption?. IMF Working Paper, 83.

 

Rae, K., and Subramaniam, N. (2008). Quality of internal control procedures: Antecedents and moderating effect on organizational justice and employee fraud. Managerial Auditing Journal. 23(2),104-124. Retrieved on Sunday September 2022 from https://doi.org/10.1108/02686900810839820

 

Ross, S. A. (1973). The economic theory of agency: The principal’s problem. The American economic review, 63(2), 134-139.

 

Rose-Ackerman, S. (1978). Corruption: A Study in Political Economy. New York: Academic Press.

 

Stapenhurst, R., Johnston, N., and Pelizzo, R. (Eds.). (2006). The role of parliament in curbing corruption. World Bank Publications.

 

Svensson, J. (2005). Eight questions about corruption. Journal of economic perspectives, 19(3), 19-42.

 

Ugur M, Dasgupta, N. (2011). Evidence on the economic growth impacts of corruption in low-income countries and beyond: a systematic review. London: EPPI-Centre, Social Science Research Unit, Institute of Education, University of London.

 

UNDP. (2022). The United Nations Convention Against Corruption. Retrieved on 5 September, 2022 from https://www.undp.org/ lebanon/projects/united-nations-convention-against-corruption

 

United Nations Office on Drugs and Crime. (2016). World wildlife crime report: Trafficking in protected species. United Nations Office on Drugs and Crime (UNODC).

 

Walker, J. (2018). What we mean when we say, “conspiracy theory.” In J. E. Uscinski (Ed.), Conspiracy theories and the people who believe them (pp. 53–61). Oxford University Press: New York, New York.

 

White, T. I. (1993). Business Ethics: A Philosophical Reader. MacMillan Publishing Company, New York.

 

Wilks, T. J., and Zimbelman, M. F. (2004). Decomposition of fraud‐risk assessments and auditors’ sensitivity to fraud cues. Contemporary Accounting Research, 21(3), 719-745.

Related