เอกสารอ้างอิง (References)
กิตติศักดิ์รัฐ ประเสริฐ, ทินพันธุ์ นาคะตะ และฤาเดช เกิดวิชัย. (2557). การทุจิรตในวงวิชาการไทย: การสังเคราะห์องค์ความรู้ด้านแนวทางการแก้ไขปัญหาจากผู้นำและบุคคลสำคัญของประเทศไทย. วารสาร มฉก. วิชาการ, 18(35), 61-74.
เกรียงศักดิ์ โชควรกุล. (2561). กลยุทธ์การต่อต้านการทุจริตคอรัปชันด้วยการสร้างค่านิยมของกลุ่มนักศึกษาในจังหวัดชัยภูมิ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์, 20(2), 237-251.
โกวิทย์ พวงงาม. (2552). การทุจริตคอร์รัปชันในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: มาตรการและกลไกการป้องกัน. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 5(3), 107-130.
______. (2559. การจัดการปัญหาการทุจริตในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง (2014) จ ากัด.
คุณากร กรสิงห์. (2560). รูปแบบการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการตรวจสอบการใช้อำนาจขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสาร มจร นครน่านปริทรรศน์, 1(2), 133-143.
ชัญญณัท พรโพธิ์ และฐนันดร์ศักดิ์ บวรนันทกุล. (2563). แนวทางการพัฒนาป้องกันการทุจริตขององค์กรป้องกันและปราบปรามการทุจริต. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 13(1), 42-57.
เชาวนะ ไตรมาศ. (2563). การนำหลักคิดคุณธรรมและหลักปฏิบัติที่ดีมาใช้เป็นเกราะคุ้มกันภัยทุจริตในการบริหารจัดการองค์กรภาครัฐ. วารสารดำรงราชานุภาพ, 20(61), 1-20.
บงกช สุทัศน์ ณ อยุธยา. (2557). การสร้างจิตสำนึกของความเป็นไทย ค่านิยม เพื่อการต่อต้านป้องกันการทุจริตคอร์รัปชัน. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(11), 248-264.
ปิยวรรณ ปานโต. (2558). สังคมไทยกับการแก้ไขปัญหาทุจริตคอร์รัปชัน. คลังสารสนเทศของสภานิติบัญญัติ. สืบค้นจาก https://dl.parliament.go.th/handle/lirt/521167
ปิยะธิดา อภัยภักดิ์. (2561). แนวทางการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นในหน่วยงานภาครัฐ. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 13(1), 1-12.
ผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2552). สังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในสังคมไทย: วิธีการตัวชี้ผลกระทบ และข้อคิดเพื่อการแก้ไข. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 2(2), 32-46.
พรเทพ จันทรนิภ. (2558). การพัฒนารูปแบบการป้องกันการทุจริตคอร์รัปชันในภาครัฐเพื่อการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีในสังคม. วารสารเกษมบัณฑิต, 16(1), 88-101.
พัชรวรรณ นุชประยูร. (2563). การประเมินความโปร่งใสทางงบประมาณในระดับสากล : ข้อพิจารณาเพื่อยกระดับการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทย. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 13(1), 2-29.
มาตาลักษณ์ ออรุ่งโรจน์. (2554). การศึกษาลักษณะ รูปแบบ และความเสี่ยงต่อการทุจิรตในองค์กรสาธารณะนอกระบบราชการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบราบการทุจริตแห่งชาติ.
มานะ นิมิตรมงคล. (2564, 9 เมษายน). กฎหมายเพื่อต่อต้าน (สนับสนุน?) การคอร์รัปชั่น. สำนักข่าวอิศรา. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/article/isranews-article/97495-corubtion.html
วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์ และอังศุธร ศรีสุทธิสะอาด. (2563). ราชการไทยไร้คอร์รัปชัน: การสำรวจความคิดเห็นของเจ้าหน้าที่รัฐต่อการแจ้งเบาะแสการทุจริต. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
สุรพงษ์ แสงเรณู, สุวรรณิน คณานุวัฒน์, และบุญทัน ดอกไธสง. (2560). แนวทางในการแก้ไขปัญหาการทุจริตประพฤติมิชอบในการบริหารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 6(1), 67-80.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ. (2560, 22 มิถุนายน). แผนแม่บทบูรณาการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579). สืบค้นจาก http://anticor.nrct.go.th/Portals/0/Plan-20Year.pdf?ver=2017-06-13-151610-557.
สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ. (2559, ม.ป.ป.). ยุทธศาสตร์ผนึกพลังประชารัฐขับเคลื่อนธรรมาภิบาลต่อต้านการทุจริต พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นจาก https://www.pacc.go.th/index.php/plan
สำนักงานจังหวัดสุราษฎร์ธานี. (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินการของหน่วยงานภาครัฐ. วารสารดำรงราชานุภาพ, 20(61), 106-122.
เสาวณีย์ ทิพอุต. (2563). แนวทางการดำเนินโครงการ/กิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหาการทุจริตและยกระดับค่าดัชนีการรับรู้การทุจริตของประเทศไทย. วารสารวิชาการ ป.ป.ช., 13(2), 2-28.
เสาวณีย์ ทิพอุต, ธีรวรรณ เอกรุณ, พรสวรรค์ ประเทสัง, และศักรินทร์ นิลรัตน์. (2562). โครงการสำรวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับสิทธิการรับรู้ข่าวสาร การรับรู้การทุจริตผลกระทบและความเสียหายที่เกิดจากการทุจริตต่อประชาชน (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: สำนักวิจัยและบริการวิชาการด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต, สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
L., De Stefano, N., Hernández-Mora, E., López-Gunn, B., Willaarts & P., Zorrilla-Miras. (2012). Public participation and transparency in water management, Water, Agriculture and the Environment in Spain: can we square the circle?. Lucia De Stefano & M. Ramón Llamas (eds.). London: CRC Press. https://doi.org/10.1201/b13078.
Melgar, N., Rossi, M., & Smith, T. (2010). The Perception of Corruption. International Journal of Public Opinion Research, 22(1), 120-131. https://doi:10.1093/ijpor/edp058.
Mubita, A., Libati , M. & Mulonda, M. (2017). The Importance and Limitations of Participation in Development Projects and Programmes. European Scientific Journal February 2017, 13(5), 238-251. https://doi: 10.19044/esj.2017.v13n5p238.
Sihombing, S. O. (2018). Youth perceptions toward corruption and integrity: Indonesian context. Kasetsart Journal of Social Sciences, 39(2), 399-204. https://doi.org/10.1016/j.kjss.2018.03.004.
Transparency International. (2007). Global Corruption Report 2007: Corruption and Judicial Systems. Cambridge: Cambridge University Press.
______. (2020, n.d.). CORRUPTION PERCEPTIONS INDEX 2020.Retrieved from https://www.transparency.org/en/cpi/2020/index/nzl.
|